ประกาศ ทุกวันที่ 24 กันยายน ของทุกปี ทำพิธีบูชาครู ตั้งแต่เวลา 08.19 น.-17.39 น.

ประวัติพระครู

พระครูไพโรจน์ธรรมานุวัตร     ฉายา ติกฺขวีโร   อายุ ๓๖   พรรษา ๑๖
            ..เอก   วัดหนองตาพต  ตำบลชะอำ   อำเภอชะอำ   จังหวัดเพชรบุรี
            ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง   เจ้าอาวาสวัดหนองตาพต

 

สถานะเดิม  

๑๓
 
ชื่อ ไพโรจน์  นามสกุล ใจปราสัย  เกิดวัน   ๑ ฯ ๑๐    ปีชวดวันที่ ๒๔  เดือน กันยายน พ..๒๕๑๕
บิดาชื่อ    นายหัด  ใจปราสัย  มารดาชื่อ  นางสำรอง   ใจปราสัย
บ้านเลขที่  ๒๑๐ หมู่ที่ ๓  ตำบลท่ายาง  อำเภอท่ายาง   จังหวัดเพชรบุรี
 อุปสมบท 

วันที่    ๑ ฯ ๘    ปีจอ  วันที่ ๑๒   เดือน  กรกฎาคม  พ..๒๕๓๕วัดหนองตาพต   ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี

พระอุปัชฌาย์     พระครูเกษมวัชราทร    วัดเนรัญชราราม   
ตำบลชะอำ       อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
พระกรรมวาจาจารย์   พระครูใบฎีกาประทีป ธมฺมธโร     วัดเนรัญชราราม      
ตำบลชะอำ       อำเภอชะอำ   จังหวัดเพชรบุรี
พระอนุสาวนาจารย์    พระอาจารย์แฉ่ง          สุธมฺโม       วัดเนรัญชราราม
ตำบลชะอำ       อำเภอชะอำ   จังหวัดเพชรบุรี
 วิทยฐานะ
            ปี พ.. ๒๕๓๐    สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  ม.๓ โรงเรียนท่ายางวิทยา
                                        ตำบลท่าคอย  อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
            ปี พ.. ๒๕๓๕   สอบได้นักธรรมชั้นตรี  สำนักศาสนศึกษา วัดหนองตาพต
                                        สำนักเรียนจังหวัดเพชรบุรี ()
            ปี พ.. ๒๕๓๖    สอบได้นักธรรมชั้นโท  สำนักศาสนศึกษา วัดหนองตาพต
                                        สำนักเรียนจังหวัดเพชรบุรี ()
            ปี พ.. ๒๕๓๘   สอบได้นักธรรมชั้นเอก  สำนักศาสนศึกษา วัดหนองตาพต
                                        สำนักเรียนจังหวัดเพชรบุรี ()
            ปี พ.. ๒๕๕๐               กำลังเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี  คณะพุทธศาสตร์
                                       สาขาวิชา  การบริหารกิจการคณะสงฆ์  (รุ่น ๑)
                                       มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 
   วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย  ในพระราชูปถัมภ์ 
                                       ศูนย์การศึกษาเพชรบุรี  วัดเนรัญชราราม

การศึกษาพิเศษ

            ปี พ.. ๒๕๓๘    เข้ารับการอบรมหลักสูตรการบริหารและการจัดการวัด
                                        จากกรมการศาสนา และสถาบันราชภัฎเพชรบุรี 
    เมื่อวันที่ ๒๒๒๓   เดือน สิงหาคม   พ..๒๕๓๘
            ปี พ.. ๒๕๓๙                 เข้ารับการอบรมสัมมนาพระสังฆาธิการระดับเจ้าอาวาส
                                         จากกรมการศาสนา และสถาบันราชภัฎเพชรบุรี   เมื่อวันที่
                                         ๒๖๒๗    เดือน สิงหาคม  พ..๒๕๓๙
            ปี พ.. ๒๕๔๒    เข้ารับการอบรมถวายความรู้ตามโครงการฝึกอบรม
เจ้าอาวาสใหม่    ณ  สถาบันพระสังฆาธิการ
อำเภอปากท่อ   จังหวัดราชบุรี
            ปี พ.. ๒๕๔๕    เข้ารับการศึกษาอบรม   โรงเรียนพระสังฆาธิการ
คณะธรรมยุต  จบตามหลักสูตรพระสังฆาธิการชั้นสูง
รุ่นที่ ๒๙

            ปี พ.. ๒๕๔๘    เข้ารับการถวายความรู้  ตามโครงการครูพระสอนศีลธรรม
                                         ในโรงเรียน  เมื่อวันที่ ๒ - ๔ มิถุนายน พ.. ๒๕๔๙
                                          ณ  วัดยาง  เขตสวนหลวง  กรุงเทพมหานคร
            ความชำนาญการ   เผยแผ่ ประชาสัมพันธ์

. งานปกครอง

       ..๒๕๔๐ เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาส

       ..๒๕๔๑ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดหนองตาพต
       ..๒๕๕๐  มีพระภิกษุ ๑๒ รูป  สามเณร รูป ในพรรษา
       มีการทำวัตรสวดมนต์ เช้า เย็น โดยทำเป็นประจำ ทั้งใน 
และนอกพรรษา ตลอดปี
      มีการทำอุโบสถสังฆกรรมทุกครึ่งเดือนตลอดปี  มีพระภิกษุสวดพระปาฏิโมกข์ ได้จำนวน ๑ รูป
       มีระเบียบการปกครองวัด คือ ผู้ที่เข้ามาบวชทุกรูปต้องเรียนพระธรรมวินัย
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ระเบียบ และกฎมหาเถรสมาคม
       มีระเบียบกติกาการปกครองวัดดังนี้ คือ
พระภิกษุ สามเณร ที่เข้ามาบวชใหม่ต้องเคารพเชื่อฟังเจ้าอาวาส
      และต้องเรียนพระธรรมวินัยทุกรูป
) ห้ามนำเครื่องเสียงทุกชนิดเข้ามาภายในวัด
) ตั้งแต่เวลา ๒๐.๐๐ น. เป็นต้นไป ห้ามบุคคลภายนอก หรือเพื่อนของ
                              พระบวชใหม่เข้ามาในวัด  (เว้นไว้แต่มีเหตุจำเป็น)
) หากผู้บวชใหม่ไม่ปฏิบัติตามกิจวัตรที่ทางวัดกำหนดขึ้นเว้นแต่เจ็บไข้
                              หรือมีเหตุจำเป็น  เป็นเวลา ๓ วันติดต่อกัน ให้พิจารณาลาสิกขา (สึก)             
                              โดยไม่มีต่อรองใด ๆ ทั้งสิ้น ในฐานะเป็นผู้ว่ายากสอนยาก
) เมื่อมีอธิกรณ์ (เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วต้องจัดต้องทำผู้เป็นบิดา มารดา ต้อง
                             ให้ความร่วมมือกับทางวัดในการะงับอธิกรณ์
       มีการจัดศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม ให้กับพระภิกษุ สามเณรทุกรูป

  งานศึกษา
       ปี พ.. ๒๕๓๗  เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม  สำนักศาสนศึกษา
วัดหนองตาพต ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.. ๒๕๓๗  ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสนามหลวงแผนกธรรม
มาจนถึงปัจจุบัน
       ปี พ.. ๒๕๔๐  เป็นเจ้าสำนักศาสนศึกษาของวัดหนองตาพต ตำบลชะอำ
อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       สถิติการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ปี พ.. ๒๕๕๐
..ตรี        สมัครสอบ   ๔   รูป      สอบได้    ๒   รูป               สอบตก   ๒   รูป
..โท       สมัครสอบ   ๒  รูป      สอบได้    -   รูป      สอบตก   ๒   รูป
                        ..เอก      สมัครสอบ    ๒  รูป      สอบได้   ๑  รูป      สอบตก   ๑   รูป
                        รวม     สมัครสอบ  ๘ รูป     สอบได้     ๓    รูป       สอบตก   ๕    รูป
       สถิติการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรมศึกษา ปี พ.. ๒๕๕๐
ธ.ศ.ตรี       สมัครสอบ   ๒๖๒   คน   สอบได้    ๙๓   คน   สอบตก  ๑๖๙  คน
.ศ.โท       สมัครสอบ   -  คน      สอบได้    -   คน        สอบตก   -   คน
                        .ศ.เอก      สมัครสอบ   -  คน      สอบได้    -   คน        สอบตก   -   คน
                        รวม     สมัครสอบ  ๒๖๒  คน      สอบได้     ๙๓   คน    สอบตก ๑๖๙   คน
       มีวิธีการส่งการเสริมการศึกษา ในทุก ๆ ด้าน มีอุปกรณ์การเรียน การสอนเป็นต้น

 งานเผยแผ่
(๑)      มีการแสดงพระธรรมเทศนา    บรรยายธรรม     ทำวัตรสวดมนต์
                    ทุกวันธรรมสวนะตลอดปี
(เป็นผู้เทศนาอบรมสั่งสอนเยาวชน ในโอกาสวันสำคัญต่าง ๆ
(ปี พ.. ๒๕๔๐ เป็นผู้แสดงธรรมสั่งสอนประชาชน ในบางโอกาส จนถึงปัจจุบัน
(มีการทำพิธีมาฆบูชา มีผู้มาร่วมประชุมทำพิธี   มีพระภิกษุ  ๑๐ รูป สามเณร-รูป
        ประชาชนประมาณ ๒๕๐ คน
(มีการทำพิธีวิสาขบูชา มีผู้มาร่วมประชุมทำพิธี  มีพระภิกษุ ๑๕ รูป สามเณร-รูป 
  ประชาชนประมาณ ๓๕๐ คน
(มีการทำพิธีอัฎฐมีบูชา มีผู้มาร่วมประชุมทำพิธี  มีพระภิกษุ ๑๔ รูป สามเณร-รูป
 ประชาชนประมาณ ๑๐๐ คน
 () มีการทำพิธีอาสาฬหบูชา มีผู้มาร่วมประชุมทำพิธี มีพระภิกษุ  ๑๑ รูป
  สามเณร-รูป   ประชาชนประมาณ ๕๐๐ คน
(มีการอบรมธรรมพระภิกษุ สามเณร  และท่องนวโกวาท  หลังจากทำวัตร
        เช้า เย็น
(มีการอบรมศีลธรรมแก่พุทธศาสนิกชน ในบางโอกาส
(๑๐) มีผู้รักษาศีลธรรมตลอดปี ๑๐ - ๓๐ คน ตลอดปี
(๑๑) มีกิจกรรมเกี่ยวกับการเผยแผ่ในเทศกาลวันสำคัญ  และใช้เสียงตามสาย    
         บรรยายธรรม และมีพระภิกษุบรรยายธรรมแสดงธรรมที่สำคัญ
         แก่พุทธศาสนิกชน ที่ควรรู้
(๑๒) มีความร่วมมือกับคณะสงฆ์ หรือ ทางราชการในการเผยแพร่ธรรมมะ เช่น
                      ในโรงเรียน สถานที่ราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ ในบางคราว และอบรม
          ธรรมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกวันศุกร์ของอาทิตย์
(๑๓) มีผู้มาทำบุญที่วัดเป็นประจำตลอดปี ประมาณ ๒๐๐ - ๓๐๐ คน
            (๑๔) จัดให้มีโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่
                      พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
                      ตั้งแต่ปี พ.. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ ให้กับเยาวชนอำเภอชะอำและหมู่บ้านใกล้เคียง
            (๑๕) ปี พ.. ๒๕๕๑ ถึงปัจจุบัน มีการบรรยายธรรมออกรายการวิทยุชุมชน รายการ
                      ธรรมะพอเพียงทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา ๑๘.๐๐ - ๑๘.๓๐ น.
 งานสาธารณูปการ

            . การก่อสร้างภายในวัด

       ปี พ.. ๒๕๔๗  ดำเนินการก่อสร้างศาลาปฏิบัติธรรมหลังใหม่ (ศาลาการเปรียญ)
ลักษณะทรงไทยประยุกต์  ชั้นเดียว  ด้วยวัสดุก่ออิฐถือปูน พื้นปูกระเบื้องอย่างดีทั้งหลัง กว้าง ๓๐ เมตร  ยาว ๒๐ เมตร
งบประมาณการก่อสร้างประมาณ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สามล้านบาทถ้วน)

       ปี พ.. ๒๕๔๘ ดำเนินการก่อสร้างห้องน้ำ  จำนวน ๗ ห้อง  ข้างศาลาปฏิบัติธรรมหลังใหม่  ด้วยวัสดุก่ออิฐถือปูน พื้นปูกระเบื้องอย่างดี
งบประมาณในการก่อสร้างประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ บาท
(หนึ่งแสนสองหมื่นบาทถ้วน)
       ปี พ.. ๒๕๔๙  ดำเนินการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ
หมดทั้งหลัง  ลักษณะของภาพเป็นแบบลวดลายพุทธประวัติ
งบประมาณในการก่อสร้างประมาณ  ๙๐๐,๐๐๐ บาท (เก้าแสนบาทถ้วน)
       ปี พ.. ๒๕๕๐  ดำเนินการจัดซื้อที่ดินเพิ่มเติม ให้เป็นที่ธรณีสงฆ์  ๑ ไร่เศษ
งบประมาณในการจัดซื้อ  ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาทถ้วน)
รวมเป็นจำนวนเงิน   ๔,๒๒๐,๐๐๐ บาท  (สี่ล้านสองแสนสองหมื่นบาทถ้วน)

. การบูรณะปฏิสังขรณ์ภายในวัด

       ปี พ.. ๒๕๕๐  ดำเนินการบูรณะ ปรับปรุง  ต่อเติมห้องรับรองผู้มีจิตศรัทธา
พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
รวมค่าบูรณะปฏิสังขรณ์  ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาทถ้วน)
รวมเป็นจำนวนเงิน   ๒๐๐,๐๐๐ บาท  (สองแสนบาทถ้วน)

รวมการก่อสร้างและปฏิสังขรณ์  เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น ๔,๔๒๐,๐๐๐ บาท
(สี่ล้านสี่แสนสองหมื่นบาทถ้วน)

. มีการพัฒนาวัดดังนี้
                        ปรับพื้นที่ดินถมดินในที่ลุ่ม
                        จัดปลูกต้นไม้ ไม้ยืนต้น ไม้ผล ไม้ดอกไม้ประดับ เช่น จัดสร้างสวนหย่อม เพื่อความสวยงาม พร้อมทั้งจัดนำถังขยะมาวางไว้ตามที่ต่าง ๆ ในบริเวณวัด  ให้อยู่อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย   สะอาดสวยงาม
                        ตัดถนนให้เป็นระเบียบ สมควรกับสถานที่ภายในบริเวณวัด
                        . มีการทำความสะอาดวัดทุกวัน เสนาสนะ และกุฏิสงฆ์ให้เป็นระเบียบ โดยแบ่งหน้าที่กันทำ
                        สร้างห้องน้ำ ห้องสุขาให้สะดวกกับพระภิกษุ สามเณร และประชาชนที่เข้ามาในวัด

  งานสาธารณสงเคราะห์
       ปี พ.. ๒๕๔๐ จนถึงปัจจุบัน    เป็นประธานและผู้อุปถัมภ์
ชมรมฌาปนกิจสงเคราะห์  ประจำหมู่บ้าน หนองตาพต โคกเศรษฐี 
บ้านบ่อ ฯ
       ปี พ.๒๕๔๑  จนถึงปัจจุบัน  ได้นำข้าวสาร อาหารแห้ง เครื่องอุปโภค
เครื่องบริโภคหลายชนิด นำไปแจกแก่ชาวเขาบริเวณเหนือเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี   เป็นประจำทุกปี
       ปี พ.. ๒๕๔๒  จนถึงปัจจุบัน  ได้นำข้าวสาร  อาหารแห้ง  เครื่องอุปโภค เครื่องบริโภคหลายชนิด  ไปช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยพิบัติในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ

  งานศึกษาสงเคราะห์
       ปี พ.๒๕๔๐  จนถึงปัจจุบัน เป็นผู้อุปถัมภ์และให้การช่วยเหลือ
ด้านเครื่องอุปโภคบริโภค  ให้กับโรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต 
ตำบลชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๔๐ จนถึงปัจจุบัน แจกทุนสงเคราะห์นักเรียนเรียนดี 
ระดับประถมศึกษา   ๑-๖   ปีละ ๓,๐๐๐ บาท เป็นประจำทุกปี
       ปี พ.. ๒๕๔๐ จนถึงปัจจุบัน เป็นผู้สนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน 
และแจกทุนการศึกษากับนักเรียน  โรงเรียนวัดไสค้าน   ตำบลท่ายาง 
อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี  
       ปี พ.๒๕๔๓ จนถึงปัจจุบัน  ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการการศึกษา 
ประจำโรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.. ๒๕๔๔  จนถึงปัจจุบัน เป็นพระอาจารย์สอนพิเศษพระพุทธศาสนา
และจริยธรรมประจำโรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต
ตำบลชะอำ  อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๔๔  จนถึงปัจจุบัน  จัดส่งพระภิกษุไปสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร์
ให้กับโรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต
ตำบลชะอำ  อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๔๘  จนถึงปัจจุบัน  จัดส่งพระภิกษุไปสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร์
ให้กับโรงเรียนบ้านบางเกตุ  (สุราทิพย์อุปถัมภ์)
ตำบลบางเก่า  อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๔๘  จนถึงปัจจุบัน  เป็นครูพระสอนศีลธรรม
ประจำโรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต  , โรงเรียนแก่นจันทร์วิทยา,
โรงเรียนบ้านนายางโรงเรียนบ้านดอน, โรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี
ซึ่งทั้ง ๕ โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.. ๒๕๔๘ - ๒๕๔๙  เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจัดหาทุนเพื่อทอดผ้าป่าการศึกษาในการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชะอำ  ร่วมกับโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี   ตำบลชะอำ  อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๔๙  จนถึงปัจจุบัน  ได้จัดส่งพระภิกษุในวัดเพื่อไปเป็นครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๓ รูป  คือ โรงเรียนเทศบาล ๗ บ้านหนองตาพต,
โรงเรียนแก่นจันทร์วิทยา, โรงเรียนบ้านนายางโรงเรียนบ้านดอน,
โรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี
ซึ่งทั้ง ๕ โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี
       ปี พ.๒๕๕๐  บริจาคเงินจำนวน ๑๐,๐๐๐  บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน
เพื่อสนับสนุนการศึกษา  โรงเรียนเทศบาล   ๗ บ้านหนองตาพต
ตำบลชะอำ  อำเภอชะอำ     จังหวัดเพชรบุรี
  สมณศักดิ์
        ปี พ.๒๕๔๑  ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูใบฎีกาโพโรจน์  
ฐานานุกรมของ พระราชสารสุธี  วัดสนามพราหมณ์  ตำบลท่าราบ อำเภอเมือง  จังหวัดเพชรบุรี      ปี พ.๒๕๔๕  ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น  พระครูสัญญาบัตร
เจ้าอาวาสวัดราษฎร์  ชั้นโท  (จร.ชท.)  ในราชทินนาม  ที่
พระครูไพโรจน์ธรรมานุวัตร